Page 15 - 62
P. 15
3. บัตรประจ�าตัวประชาชนของผู้แจ้งย้าย หลักฐาน
ขั้นตอนการติดต่อ 1. ส�าเนาทะเบียนบ้าน
1. ยื่นหลักฐานต่อนายทะเบียนท้องที่ที่จะย้ายเข้า 2. สูติบัตร, หรือเอกสารอื่นที่ทางราชการออกให้อย่างใดอย่างหนึ่ง
2. นายทะเบียนตรวจสอบหลักฐาน และลงรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ โดย เช่น ส�าเนาทะเบียนนักเรียน ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร เป็นต้น
ให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อในช่องผู้แจ้งย้ายออกช่องผู้แจ้งย้ายเข้าหรือช่องเจ้าบ้าน (กรณี 3. กรณีไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง ให้น�าเจ้าบ้าน หรือบุคคลที่
ที่มอบอ�านาจ) และเสียค่าธรรมเนียม 20 บาท น่าเชื่อถือมาให้การรับรอง
7 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ การขอมีบัตรกรณีได้รับการยกเว้น ผู้ซึ่งได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย
ซึ่งมีบัตรประจ�าตัวตามกฎหมายอื่นจะขอมีบัตรประจ�าตัวประชาชนก็ได้ โดย
ในเอกสารการทะเบียนราษฎร
เอกสารการทะเบียนราษฎร ได้แก่ ส�าเนาทะเบียนบ้าน สูติบัตรมรณบัตร
หลักฐาน
เสียค่าธรรมเนียมตามกฎหมายก�าหนด
และใบแจ้งการย้ายที่อยู่ 1. ส�าเนาทะเบียนบ้าน
หลักเกณฑ์ 2. หลักฐานที่แสดงว่าได้รับการยกเว้น
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรส�าหรับ ข. การขอมีบัตรใหม่
รายการต่าง ๆ ที่ได้ลงไว้แล้ว หากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงใหม่ เนื่องจาก บัตรหมดอายุ เมื่อบัตรหมดอายุ ผู้ถือบัตรต้องมีบัตรใหม่ภายใน
กรณีใดก็ตาม จะท�าการลบ ขูดหรือท�าให้เลือนหายไปไม่ได้แต่จะต้องใช้วิธี 60 วัน นับแต่วันที่บัตรเดิมหมดอายุ
ขีดฆ่าค�าหรือข้อความเดิม แล้วเขียนค�าหรือข้อความที่ถูกต้องแทนด้วยหมึก หลักฐาน
สีแดงและให้นายทะเบียนลงชื่อ และ วัน เดือน ปี ที่แก้ไข ก�ากับไว้ 1. ส�าเนาทะเบียนบ้าน
กรณีที่มีหลักฐานประกอบ 2. บัตรเดิมที่หมดอายุ
ในกรณีที่ผู้ยื่นค�าร้องขอ มีเอกสารราชการมาแสดงประกอบ บัตรหายหรือถูกท�าลาย เมื่อบัตรหายหรือถูกท�าลาย ผู้ถือบัตร เอกสารเผยแพร่ข่าวสารเทศบาลนครอุบลราชธานี
เป็นหลักฐาน ไม่ว่าเอกสารนั้นจะจัดท�าก่อนหรือหลังการจัดท�าทะเบียนราษฎร ต้องมีบัตรใหม่ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่บัตรหายหรือถูกท�าลาย
เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นว่าเอกสารดังกล่าวเชื่อถือได้ ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลง หลักฐาน
รายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรให้ตรงกับหลักฐาน 1. ส�าเนาทะเบียนบ้าน
กรณีไม่มีหลักฐานประกอบ 2. เอกสารการแจ้งความ (แจ้งได้ที่ส�านักงานทะเบียนอ�าเภอ/ท้องถิ่น)
ในกรณีที่ผู้ยื่นค�าร้องขอฯ ไม่มีเอกสารราชการมาแสดงนายทะเบียน 3. เอกสารที่ทางราชการออกให้อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ใบอนุญาตขับขี่ 15
จะสอบสวนพยาน หลักฐาน และรวบรวมเสนอนายอ�าเภอ พร้อมด้วยความเห็น หนังสือเดินทางไปต่างประเทศ เป็นต้น
เพื่อพิจารณาและสั่งให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารทะเบียนราษฎร 4. กรณีไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง ให้น�าเจ้าบ้านหรือบุคคลผู้
ติดต่อที่ไหน น่าเชื่อถือ มาให้การรับรอง ข่าวเทศบาล
ติดต่อที่ส�านักทะเบียนแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีชื่อในทะเบียนบ้าน ทั้งนี้ ค. การเปลี่ยนบัตร
หากผู้ร้องขอเป็นผู้เยาว์ ให้บิดาหรือมารดาเป็นผู้ยื่นค�าร้องแทน ผู้ถือบัตรต้องเปลี่ยนบัตรใหม่ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่แก้ไข ชื่อตัว ชื่อสกุล
8 การมอบอ�านาจของเจ้าบ้าน ในทะเบียนบ้าน
หลักฐาน
เจ้าบ้าน คือ ผู้มีหน้าที่ด�าเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรที่ตนเป็น 1. ส�าเนาทะเบียนบ้าน
2. บัตรเดิม
เจ้าบ้าน ได้แก่ การแจ้งเกิด การแจ้งตาย การแจ้งย้ายที่อยู่หรือเรื่องอื่น ๆ เกี่ยว 3. หลักฐานการ เปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล แล้วแต่กรณี
กับบ้าน แต่เจ้าบ้านก็สามารถมอบหมายให้ผู้อื่นไปด�าเนินการแทนได้ ผู้ถือบัตรผู้ใดที่ย้ายที่อยู่ จะขอเปลี่ยนบัตรก็ได้ โดยเสียค่าธรรมเนียม
หลักฐาน ตามที่กฎหมายก�าหนด
1. หนังสือมอบอ�านาจของเจ้าบ้านระบุรายละเอียดชัดเจนว่ามอบให้ใคร
ท�าอะไร และลงชื่อผู้มอบ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับฝ่ายทะเบียนราษฎร
2. ส�าเนาทะเบียนบ้าน และบัตรประจ�าตัวประชาชน
3. บัตรประจ�าตัวประชาชนของเจ้าบ้าน โทรศัพท์หมายเลข (045) 246060 ต่อ 102-104
4. บัตรประจ�าตัวประชาชนของผู้รับมอบอ�านาจ
กรณีเจ้าบ้านไม่สามารถมอบอ�านาจ ยินดีตอบปัญหาทุกท่าน
หากเจ้าบ้านไม่อยู่ เช่น ไปต่างประเทศ หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติ
ภารกิจได้ เช่น ป่วยหนัก และมีเรื่องที่ต้องด�าเนินการในฐานะเจ้าบ้าน เช่น มี
การตายเกิดขึ้น ให้ถือว่าผู้มีชื่อในทะเบียนบ้านผู้หนึ่งผู้ใดหรือผู้ดูแลบ้านหรือ วิสัยทัศน์กว้างไกล
ผู้อยู่ในบ้านนั้นท�าหน้าที่เจ้าบ้านแทนได้
9 งานบัตรประจ�าตัวประชาชน เต็มใจบริการ
ผู้มีสัญชาติไทยซึ่งมีอายุตั้งแต่ 7 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ ประสานแก้ปัญหา
และมีชื่อในทะเบียนบ้านต้องมีบัตรประจ�าตัวประชาชนตามที่กฎหมายก�าหนด
ก. การขอมีบัตร สร้างศรัทธาประชาชน
การขอมีบัตรครั้งแรก (อายุ 7 ปีบริบูรณ์) ต้องมีบัตรภายใน 60 วัน
นับแต่วันที่มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์